ข่าวสารและบทความ

ข้อดีของการทำ NGS (Next Generation Sequencing) มีอะไรบ้าง แล้วเหมาะกับใคร?


ข้อดีของการทำ NGS มีอะไรบ้าง แล้วเหมาะกับใคร?

NGS เป็นเทคนิคการตรวจพันธุกรรมตัวอ่อนก่อนการฝังตัว โดยการตรวจคัดกรองโครโมโซมของตัวอ่อน ที่ได้จากการปฏิสนธิของไข่และสเปิร์มของคู่สมรสจากการทำ IVF/ICSI ซึ่งการตรวจด้วยวีธี NGS สามารถตรวจหาความผิดปกติของโครโมโชมได้ครอบคลุมทั้ง 23 คู่ด้วยความแม่นยำสูง เพื่อคัดเลือกตัวอ่อนที่ปกติ ย้ายใส่กลับโพรงมดลูก เพื่อการตั้งครรภ์ต่อไป

🔬 NGS เหมาะกับใครบ้าง?

✨ คู่สมรสที่ฝ่ายหญิงมีอายุ 35 ปีขึ้นไป

✨ คู่สมรสที่มีประวัติการตั้งครรภ์บุตรที่มีความผิดปกติของโครโมโซม

✨ คู่สมรสที่มีประวัติแท้งบุตร 2 ครั้งขึ้นไป

✨ คู่สมรสที่มีภาวะมีบุตรยาก

✨ คู่สมรสที่ต้องการเลือกเพศของบุตรด้วยเหตุผลทางการแพทย์

✨ คู่สมรสที่มีความผิดปกติของโครโมโซม

ในกระบวนการของการทำเด็กหลอดแก้วด้วยวิธีการ ICSI หากมีทำ NGS เพิ่มเติม ก็จะช่วยให้อัตราความสำเร็จสูงขึ้นอีกด้วยนะคะ หากสนใจข้อมูลเกี่ยวกับ NGS สามารถแชทคุยกับแอดมินได้เลยค่ะ

ข่าวสารและบทความอื่นๆ

ของขวัญชิ้นแรกที่ล้ำค่าสำหรับลูกน้อย คัดกรองพันธุกรรมตัวอ่อน หลีกเลี่ยงโรคธาลัสซีเมีย

ของขวัญชิ้นแรกสำหรับลูกน้อย คัดกรองพันธุกรรมตัวอ่อน หลีกเลี่ยงโรคธาลัสซีเมีย มีความแม่นยำและน่าเชื่อถือกว่า 95% ให้ลูกน้อยของคุณมีสุขภาพดี

ถามหมอ 💬 กับหมอนิ : ธาลัสซีเมียเป็นโรคที่สามารถรักษาให้หายขาดได้หรือไม่

ธาลัสซีเมียเป็นโรคโลหิตจางที่เกิดจากความผิดปกติทางพันธุกรรม ซึ่งสามารถถ่ายทอดจากพ่อแม่สู่ลูกได้โดยตรง จึงเป็นเรื่องที่ทำให้คุณพ่อคุณแม่ที่กำลังวางแผนจะมีบุตรเกิดความกังวลไม่น้อย และมีคำถามตามมาว่า “ธาลัสซีเมียสามารถรักษาให้หายขาดได้หรือไม่?”

AMH (Anti-Müllerian Hormone) ควรอยู่ที่เท่าไหร่นะ?

AMH (Anti-Müllerian Hormone) คือ ฮอร์โมนที่ถูกผลิตขึ้นโดยเซลล์ของไข่ในรังไข่ เป็นตัวช่วยประเมินการทำงานของรังไข่ และปริมาณไข่ที่เหลืออยู่