ข่าวสารและบทความ

8 พฤษภาคม 2567 วันธาลัสซีเมียโลกเพื่อรณรงค์ให้เห็นถึงความสำคัญในการป้องกันโรคธาลัสซีเมีย

8 พฤษภาคม 2567 วันธาลัสซีเมียโลก

องค์การอนามัยโลก (WHO) ได้กำหนดให้ทุกวันที่ 8 พฤษภาคม ของทุกปี เป็นวันธาลัสซีเมียโลกเพื่อรณรงค์ให้เห็นถึงความสำคัญในการป้องกันโรคธาลัสซีเมีย ที่สามารถถ่ายทอดจากพ่อแม่ไปยังบุตรได้ ซึ่งพบว่ามีคนที่เป็นพาหะธาลัสซีเมียร้อยละ 40 ของประชากรไทย

โรคธาลัสซีเมีย สามารถป้องกันได้ด้วย Karyomapping เทคนิคล่าสุดที่ช่วยในการตรวจหาโรคทางพันธุกรรมในระดับยีนเดี่ยว เพื่อคัดกรองตัวอ่อนที่ปราศจากโรคใส่กลับสู่โพรงมดลูก หรือในกรณีที่มีบุตรเป็นโรคธาลัสซีเมีย ก็สามารถคัดกรองตัวอ่อนที่ปลอดโรคและมีเนื้อเยื่อเข้ากันได้กับบุตรที่ป่วย (HLA Matching) เพื่อใช้ในการรักษาบุตรที่เป็นธาลัสซีเมียให้หายขาดได้

Karyomapping ถือเป็นเทคนิคที่มีความละเอียดสูง แม่นยำมากกว่า 95% และสามารถตรวจครอบคลุมโรคทางพันธุกรรมอื่นๆ ได้อีกหลายโรค จึงเหมาะกับคู่สมรสที่มีประวัติโรคพันธุกรรมในครอบครัว และอยากมีลูกที่แข็งแรง ปราศจากโรค ผู้ที่สนใจสามารถตรวจคัดกรอง Karyomapping ได้ที่ Superior A.R.T.

ข่าวสารและบทความอื่นๆ

ไลฟ์สไตล์ที่ปรับเปลี่ยน ส่งผลให้เกิดภาวะมีบุตรยาก ในสังคมสมัยใหม่

รู้หรือไม่ว่า การมีบุตรยากกำลังเป็นภัยเงียบในสังคมยุคใหม่มากขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งอาจเกิดจากพฤติกรรม และค่านิยมที่เปลี่ยนไปของผู้คนในยุคปัจจุบัน

ถามหมอ 💬 กับหมอจิว : ปล่อยธรรมชาตินานแค่ไหน ถึงเข้าข่ายมีลูกยาก

เพราะระยะเวลาในการตั้งครรภ์ของคู่สมรสที่ปล่อยธรรมชาติ จะมีความแตกต่างกันไป หลายคนเกิดคำถามว่า ต้องพยายามมีลูกตามธรรมชาติมานานแค่ไหน ถึงจะถือว่าเข้าข่ายมีบุตรยาก?

ถามหมอ 💬 กับหมอนิ : เคยแท้งมาก่อน โอกาสมีลูกจะลดลงหรือไม่ ?

คุณหมอนิ พญ.นิศารัตน์ จะมาตอบข้อสงสัยให้ทุกท่านได้ทราบกัน สำหรับคุณแม่ที่เคยสูญเสียลูกน้อยจากการแท้งลูก อาจมีความกังวลใจว่าโอกาสในการมีลูกอีกครั้งจะยากขึ้นหรือไม่